วิทยาศาสตร์ข้อมูลและปัญญาประดิษฐ์ ตัวช่วยในการฝ่าวิกฤติโควิด 2019 ไปด้วยกัน

วิทยาศาสตร์ข้อมูลและปัญญาประดิษฐ์ ตัวช่วยในการฝ่าวิกฤติโควิด 2019 ไปด้วยกัน

07 เมษายน 2563
ภาพที่ 1: Corona virus หรือ  COVID-19
ที่มาภาพ: https://www.forbes.com/sites/bernardmarr/2020/03/13/coronavirus-how-artificial-intelligence-data-science-and-technology-is-used-to-fight-the-pandemic/#2ab2ae045f5f

ล่าสดุ (3 เม.ย. 2563) ยอดผู้ติดเชื้อไวรัสโคโรนา(COVID-19) พุ่งเกินกว่า 1 ล้านคนเป็นที่เรียบร้อยแล้ว โดยมีประเทศสหรัฐอเมริกาที่ก้าวกระโดดแซงประเทศอื่นๆไปอย่างน่าเป็นห่วงจริงๆภายในระยะเวลาไม่ถึง 1 เดือน  บทเรียนจากไข้หวัดใหญ่สเปน (1918 Spanish Flu) สมัยช่วงสงครามโลกครั้งที่ 1 น่าจะเป็นกรณีศึกษาแบบอย่างที่นักรบโควิด-19ทั่วโลกสามารถนำมาเป็นเรียนรู้และประยุกต์ได้ (สามารถอ่านเพิ่มเติมได้ที่ “ฝ่าวิกฤติโควิด-19 จากบทเรียนในอดีต : ไข้หวัดใหญ่สเปน (1918 Spanish Flu)”) 

ภาพที่ 2: Dashboard ติดตามสถานการณ์ COVID-19 ทั่วโลก (อ่านข้อมูลเพิ่มเติมใน “ไวรัสโคโรนา” การติดตามการแพร่กระจายของ โควิด 2019 จากทั่วโลก)
ที่มาภาพ https://coronavirus.jhu.edu/map.html

ตั้งแต่มีข่าวการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรน่าในประเทศจีน ทางรัฐบาลของทุกประเทศรวมถึงรัฐบาลของประเทศจีนเองด้วยนั้น ก็ได้หันมาใช้เทคโนโลยีและข้อมูลที่มีทั้งขนาดเล็กและขนาดใหญ่เพื่อศึกษาและวิเคราะห์หาวิธีรับมือกับการแพร่ระบาดของโควิด 2019 เทคโนโลยีที่รัฐบาลทั่วโลกได้นำมาใช้ประโยชน์ในการรับมือกับการแพร่ระบาดของโควิด 2019 ล้วนแล้วแต่เป็นเทคโนโลยีที่ล้ำสมัยและเป็นที่นิยมในโลกยุคดิจิตัลทั้งสิ้น อาทิเช่น การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงตำแหน่งจากโทรศัพท์มือถือ การใช้แอปฯเพื่อติดตามผู้มีความเสี่ยงในการติดเชื้อ การทำDashboard เพื่อติดตามจำนวนผู้ติดเชื้อทั้งในและต่างประเทศแบบเรียลไทม์ ตลอดจนการใช้เป็นช่องทางในการสื่อสารกับประชาชนได้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ วันนี้เราจะมาดูว่าเทคโนโลยีที่ล้ำสมัยและศาสตร์ใหม่ๆที่กำลังติดเทรดอย่าง การใช้วิทยาศาสตร์ข้อมูล (Data Sciences) การใช้ปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence) หรือการทำMachine Learning นั้นสามารถนำมาใช้ประโยชน์ในการต่อสู้กับโควิด 2019 ได้อย่างไรบ้างดังต่อไปนี้ (ปรับปรุงจากข้อเสนอของคุณ Bernard Merr ที่เป็นหนึ่งในผู้มีชื่อเสียงในวงการ Big Data Analyticsซึ่งได้เขียนไว้ใน Forbes)

  1. ใช้ปัญญาประดิษฐ์ในการตรวจหา ติดตามและพยากรณ์การแพร่ระบาด
  2. ใช้ปัญญาประดิษฐ์ในการตรวจหาเชื้อไวรัสและพัฒนาหายาต้านเชื้อและรักษา
  3. ใช้ในการตรวจสอบการขอเงินชดเชยกับบริษัทประกันหรือใช้ในการตรวจสอบการขอรับสิทธิ์ต่างๆ 
  4. ใช้โดรนในการส่งพัสดุทางการแพทย์
  5. ใช้หุ่นยนต์ทำงานที่เสี่ยงภัย เช่น การฉีดยาฆ่าเชื้อ การส่งอาหาร การให้ข้อมูลต่างๆ เป็นต้น
  6. ใช้Chatbot เป็นเครื่องมือในการประชาสัมพันธ์และตอบข้อสงสัยทั่วไปเพื่อลดการทำงานของเจ้าหน้าที่สาธรณะสุขและเจ้าหน้าที่รัฐที่เกี่ยวข้อง
  7. ใช้Supercomputer และ ระบบ Cloud มาช่วยในการประมวลผลข้อมูล share ข้อมูลและการบริหารจัดการข้อมูล
  8. ใช้เป็นตัวกลางในการติดต่อสื่อสารและทำงานร่วมกัน เช่น การทำงานจากบ้าน 

เหตุการณ์แพร่ระบาดของโควิด 2019 ครั้งนี้ต้องถูกจารึกไว้เป็นวิกฤติอันดับต้นๆของโลกอย่างแน่นอน แต่เราทุกคนต้องร่วมกันต่อสู้และฝ่าฟันวิกฤตินี้ไปด้วยกัน และที่สำคัญเราต้องพยายามเปลี่ยนวิกฤตินี้ให้เป็นโอกาสเพื่ออนาตคของเราทุกคน และ เทคโนโลยีที่ล้ำสมัยและศาสตร์ใหม่ๆที่กำลังติดเทรดอย่างการใช้วิทยาศาสตร์ข้อมูล (Data Sciences) หรือการใช้ปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence) จะสามารถช่วยให้เราผ่านวิกฤตินี้ไปด้วยกันอย่างประสบความสำเร็จ

ที่มา: 

  1. https://www.forbes.com/sites/bernardmarr/2020/03/13/coronavirus-how-artificial-intelligence-data-science-and-technology-is-used-to-fight-the-pandemic/#2ab2ae045f5f

Vice President, Data Analytics Services Division (DAS)
Big Data Institute (Public Organization), BDI

แบ่งปันบทความ

กลุ่มเนื้อหา

แท็กยอดนิยม

แจ้งเรื่องที่อยากอ่าน

คุณสามารถแจ้งเรื่องที่อยากอ่านให้เราทราบได้ !
และเราจะนำไปพัฒนาบทความให้มีเนื้อหาที่น่าสนใจมากขึ้น

ไอคอน PDPA

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ “นโยบายคุ้กกี้” และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ “ตั้งค่า”

ตั้งค่าความเป็นส่วนตัว

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

ยอมรับทั้งหมด
จัดการความเป็นส่วนตัว
  • คุกกี้ที่มีความจำเป็น (Strictly Necessary Cookies)
    เปิดใช้งานตลอด

    คุกกี้ประเภทนี้มีความจำเป็นต่อการให้บริการเว็บไซต์ของ สำนักงานคณะกรรมการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล เพื่อให้ท่านสามารถเข้าใช้งานในส่วนต่าง ๆ ของเว็บไซต์ได้ รวมถึงช่วยจดจำข้อมูลที่ท่านเคยให้ไว้ผ่านเว็บไซต์ การปิดการใช้งานคุกกี้ประเภทนี้จะส่งผลให้ท่านไม่สามารถใช้บริการในสาระสำคัญของ สำนักงานคณะกรรมการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล ซึ่งจำเป็นต้องเรียกใช้คุกกี้ได้
    รายละเอียดคุกกี้

  • คุกกี้เพื่อการวิเคราะห์และประเมินผลการใช้งาน (Performance Cookies)

    คุกกี้ประเภทนี้ช่วยให้ BDI ทราบถึงการปฏิสัมพันธ์ของผู้ใช้งานในการใช้บริการเว็บไซต์ของ BDI รวมถึงหน้าเพจหรือพื้นที่ใดของเว็บไซต์ที่ได้รับความนิยม ตลอดจนการวิเคราะห์ข้อมูลด้านอื่น ๆ BDI ยังใช้ข้อมูลนี้เพื่อการปรับปรุงการทำงานของเว็บไซต์ และเพื่อเข้าใจพฤติกรรมของผู้ใช้งานมากขึ้น ถึงแม้ว่า ข้อมูลที่คุกกี้นี้เก็บรวบรวมจะเป็นข้อมูลที่ไม่สามารถระบุตัวตนได้ และนำมาใช้วิเคราะห์ทางสถิติเท่านั้น การปิดการใช้งานคุกกี้ประเภทนี้จะส่งผลให้ BDI ไม่สามารถทราบปริมาณผู้เข้าเยี่ยมชมเว็บไซต์ และไม่สามารถประเมินคุณภาพการให้บริการได้

  • คุกกี้เพื่อการใช้งานเว็บไซต์ (Functional Cookies)

    คุกกี้ประเภทนี้จะช่วยให้เว็บไซต์ของ BDI จดจำตัวเลือกต่าง ๆ ที่ท่านได้ตั้งค่าไว้และช่วยให้เว็บไซต์ส่งมอบคุณสมบัติและเนื้อหาเพิ่มเติมให้ตรงกับการใช้งานของท่านได้ เช่น ช่วยจดจำชื่อบัญชีผู้ใช้งานของท่าน หรือจดจำการเปลี่ยนแปลงการตั้งค่าขนาดฟอนต์หรือการตั้งค่าต่าง ๆ ของหน้าเพจซึ่งท่านสามารถปรับแต่งได้ การปิดการใช้งานคุกกี้ประเภทนี้อาจส่งผลให้เว็บไซต์ไม่สามารถทำงานได้อย่างสมบูรณ์

  • คุกกี้เพื่อการโฆษณาไปยังกลุ่มเป้าหมาย (Targeting Cookies)

    คุกกี้ประเภทนี้เป็นคุกกี้ที่เกิดจากการเชื่อมโยงเว็บไซต์ของบุคคลที่สาม ซึ่งเก็บข้อมูลการเข้าใช้งานและเว็บไซต์ที่ท่านได้เข้าเยี่ยมชม เพื่อนำเสนอสินค้าหรือบริการบนเว็บไซต์อื่นที่ไม่ใช่เว็บไซต์ของ BDI ทั้งนี้ หากท่านปิดการใช้งานคุกกี้ประเภทนี้จะไม่ส่งผลต่อการใช้งานเว็บไซต์ของ BDI แต่จะส่งผลให้การนำเสนอสินค้าหรือบริการบนเว็บไซต์อื่น ๆ ไม่สอดคล้องกับความสนใจของท่าน

บันทึกการตั้งค่า
ไซต์นี้ลงทะเบียนกับ wpml.org ในฐานะไซต์พัฒนา สลับไปยังไซต์การผลิตโดยใช้รหัส remove this banner.